การออกแบบสื่อองค์ประกอบทีสำคัญในการเรียนการสอน คือสิ่งที่นำไปประกอบการเรียนการสอนลักษณะการออกแบบที่ดี1. ควรเป็นการออกแบบที่เหมาะสมกับความมุ่งหมายของการนำไปใช้2. ควรเป็นการออกแบบที่มีลักษณะง่ายต่อการทำความเข้าใจ การนำไปใช้งานและกระบวนการผลิต3. ควรมีสัดส่วนที่ดีและเหมาะสมตามสภาพการใช้งานของสื่อ4. ควรมีความกลมกลืนของส่วนประกอบ ตลอดจนสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของการใช้และการผลิตสื่อชนิดนั้นปัจจัยพื้นฐานของการออกแบบสื่อการสอน1. เป้าหมายของการเรียนการสอนพฤติกรรมด้านพุทธพิสัย แสดงว่าได้เกิดความรู้และสามารถอธิบายวิเคราะห์ได้พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เป็นทักษะในการเคลื่อนไหวลงมือทำงาน หรือความว่องไวในการแก้ปัญหาพฤติกรรมด้านจิตพิสัย แสดงความรู้สึก อารมณ์ที่มีต่อสิ่งที่เรียนรู้และสภาพแวดล้อม2. ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาและรายละเอียดของสื่อย่อมแปรตามอายุ และความรู้พื้นฐานของผู้เรียน3. ลักษณะแวดล้อมของการผลิตสื่อลักษณะผู้เรียน- การสอนกลุ่มใหญ่ ในลักษณะการบรรยาย สาธิต- การสอนกลุ่มเล็ก- การสอนเป็นรายบุคคลสิ่งอำนวยความสะดวกในการใช้สื่อ4. ลักษณะสื่อ- ลักษณะเฉพาะตัวของสื่อ- ขนาดมาตรฐานของสื่อวิธีระบบกับการออกแบบสื่อการเรียนการสอน เป็นวิธีการนำเอาผลที่ได้(ข้อมูลย้อนกลับ)จากการผลิตหรือการประเมินผล มาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขระบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นระบบการเรียนการสอน1. เนื้อหาหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม จะต้องมีความสอดคล้องกัน2. พิจารณาพฤติกรรมเบื้องต้นของผู้เรียน คือ ต้องทราบพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียน3. ขั้นการสอน วิธีการสอน และปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดี4. การประเมินผล เพื่อตรวจสอบการดำเนินการเรียนการสอน5. วิเคราะห์ผลและปรับปรุงข้อบกพร่องของระบบการเรียน
การสื่อความหมาย คือ การถ่ายโยงความคิดหรือความรู้สึกให้เห็นพ้องต้องกันของบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง โดยผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การพูดคุย กริยา ท่าทาง การแสดงสีหน้า ภาษาเขียน ภาษาภาพองค์ประกอบของการสื่อความหมาย1. ผู้ส่ง อาจเป็นเพียง 1 คน หรือกลุ่มคนก็ได้ ซึ่งเป็นผู้นำเรื่องราวข่าวสาร เพื่อส่งไปยังผู้รับ โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่งในการเข้ารหัสเพื่อให้ผู้รับเข้าใจ2. สาร เนื้อหาของสารหรือสาระของเรื่องราวที่ส่งออกมา3. สื่อหรือช่องทางในการนำสาร ได้แก่ ตัวกลางที่ช่วยถ่ายทอดเหตุการณ์ บทเรียน ที่ผู้ส่งต้องการให้ไปถึงผู้รับ สื่อที่ใช้ในการถ่ายทอดอาจเป็นภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษามือ และภาษากายก็ได้4. ผู้รับหรือกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้รับข่าวสารเรื่องราวต่างๆจากผู้ส่ง5. ผล ได้แก่ การรับรู้ข่าวสารของผู้รับ ซึ่งผู้รับจะเข้าใจข่าวสารมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสิ่งที่ใช้ในสถานการณ์และทัศนคติของผู้รับในขณะนั้น6. ข้อมูลย้อนกลับ ได้แก่ การแสดงกิริยาตอบสนองของผู้รับต่อข้อมูลข่าวสารให้ผู้ส่งรับรู้
การสร้างสองมิติการออกแบบ (two-dimensional design)เป็นการออกแบบบนระนาบรองรับ เช่น กระดาษ แผ่นใส ผ้าใบ ผนังคอนกรีต เป็นต้น ซึ่งตรวจสอบมิติได้เพียงความกว้างของความยาวไม่มีความหนาให้ตรวจสอบได้ในการออกแบบสองมิติสามารถจำแนกมิติของการรับรู้ได้ 2 ประการ คือ
(1).มิติที่ตรวจสอบได้เป็นการออกแบบให้มีรูปร่างต่างๆ โดดยใช้ส่วนประกอบของการออกแบบสามารถรับรู้และตรวจสอบมิติกว้างยาวผิวหน้าของระนาบรองรับได้
(2).มิติที่ตรวจสอบไม่ได้เป็นการออกแบบสองมิติ แต่ในการรับรู้ด้วยสายตาและความรู้สึกดูเหมือนภาพสามมิติแต่ตรวจสอบไม่ได้ด้วยการจัด เปรียบเทียบได้กับภาพถ่ายของโต๊ะซึ่งสามารถรับรู้ได้ว่ามีความกว้าง ความยาวและความหนา แต่ภาพที่ปรากฏมีเพียงความกว้างและความยาวเท่านั้น มิติที่ตรวจสอบไม่ได้นี้เรียกว่ามิติมายา หรือมิติลวง (illussion)
(2.1) วิธีทัศนียภาพสิน เป็นการใช้เส้นแสดงขนาดสัดส่วน ซึ่งสัมพันธ์กับการมองเห็นจริงๆ คือสิ่งที่อยู่ใกล้กว่าสิ่งที่อยู่ไกล เช่นเดียวกับการเขียนทัศนียภาพ
(2.2) วิธีทัศยภาพบรรยากาศ เป็นการสร้างบรรยากาศให้พร่ามัว โดยเฉพาะที่อยู่ลึกเข้าไปทางด้านล่าง ดูเหมือนมีหมอกปกคลุมอยู่ ทำให้สิ่งที่อยู่ใกล้ดูชิด สิ่งที่อยู่ไกลดูไม่ชัด
(2.3) วิธีมองจากด้านบน เป็นการแสดงความใกล้ไกลด้วยวิธีการมองจากด้านบนหรือมองจากที่สูงลงมา สิ่งที่ใกล้จะอยู่ด้านล่างของพื้นฐานและสิ่งที่อยู่ไกลจะอยู่ด้านบนพื้นล่าง
(2.4) วิธีทัศยภาพสี เป็นการแสดงความตื้นลึกโดยการใช้น้ำหนักของสี น้ำหนักแก่และน้ำหนักอ่อน สามารถแสดงความใกล้หรือไกลได้ด้วยกันทั้งคู่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับในการใช้ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์ในการมองเห็นเป็นสำคัญ
(2.5) วิธีบังซ้อนกัน เป็นการแสดงความตื้นลึกด้วยการทับกัน บังกันหรือซ้อนทับกัน สิ่งที่ถูกทับหรือไกลกันที่ทับ
(2.6) วิธีเอ็กซ์เรย์ เป็นการแสดงความตื้นลึกหรือใกล้ไกลด้วยความโปร่งใส เหมือนกับพิมพ์เอ็กซ์เรย์ทางการแพทย์ แต่บางครั้งไม่อาจจะสรุปให้เป็นที่แน่นอนได้ว่าสิ่งที่อยู่ใกล้หรืไกลกว่ากันสำหรับการจัดภาพในงานออกแบบสองมิติ
ถ้าจะให้ได้ผลสมบูรณ์ควรคำนึงถึงสิ่งที่สำคัญ3 ประการคือ
(1) ขอบภาพ เป็นการจัดภาพให้ส่วนประกอบในภาพสัมพันธ์กันเองและสัดส่วนประกอบทั้งหมดสัมพันธ์กับขอบภาพด้วย
(2) บริเวณวางที่ราบเรียบ เป็นการจัดภาพให้เกิดความใกล้ไกลบนพื้นที่เรียบ ซึ่งอาจใช้วิธีทับซ้อนกันหรือวิธีอื่นๆ แต่ไม่ค่อยนิยมให้เหมือนจริงตามธรรมชา
''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''
วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
วันพุธที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2551
Myspace Thinking of You Graphics
Move out man! Life is fleeting by.
Do something worthwhile, before you die.
Leave behind a work sublime,
that will outlive you and time.
- - Alfred A. Montepert - -
อันชีวิตคนเราช่างสั้นนัก
ต้องรู้จักทำประโยชน์ก่อนจะสาย
ทิ้งไว้เป็นอนุสรณ์หลังความตาย
มีความหมายคงอยู่ ตลอดไป
ศรัทธาก็แปลว่าความเชื่อนั่นแหละ คำหนึ่งเป็นภาษาอินเดียโบราณอีกคำหนึ่งเป็นคำไทย ....แต่ปัญหาอยู่ที่ว่าใครจะให้ความหมายของคำนี้ในรูปแบบไหน ละเอียดลึกซึ้งแค่ไหน ตามแนวตำราตามความหมายทางภาษา หรือความหมายในทางปฏิบัติ ต้องเข้าใจความจริงอันหนึ่งว่าภาษาของมนุษย์นั้นมีความข้อจำกัดหรือความตื้น เขินในตัวมันเองมาก แม้ว่านักปราชญ์จะบัญญัติให้ใกล้เคียงความจริงมากที่สุดแค่ไหนก็ตาม สมมุติว่าคนตาบอดเกิดมองเห็นได้ด้วยแว่นพิเศษบางอย่างที่เห็นได้แต่สีขาวดำ ขมุกขมัว เท่านั้น แล้วคนนั้นจะไปบรรยายให้คนตาบอดอีกคนเข้าใจภาพที่ตนเห็นได้ถูกต้องอย่างไร กัน อันนี้คือเหตุที่ในวงการปฏิบัติมักจะบอกว่าให้ทิ้งตำราเสีย ดูคล้ายกับจะเป็นการดูหมิ่นนักตำรา(ที่ไม่ปฏิบัติ) เสียด้วย เพราะเมื่อไหร่ที่จิตได้ผลจากการปฏิบัติขึ้นมาจะเห็นว่าความเข้าใจที่ อุตส่าห์ทำไว้อย่างลึกซึ้งจากการอ่านตำรานั้น ห่างจากความจริงที่ได้ผลจากการปฏิบัติลิบลับหลายพันโยชน์เลย จึงมีคำกล่าวว่า "ของจริงนิ่งเป็นใบ้ ของพูดได้นั้นไม่จริง" ก็เป็นอย่างนั้นเอง คนที่เจอของจริงเข้าแล้วพูดไม่ออก บรรยายไม่ถูก ไม่มีคำไหนในภาษามนุษย์จะวาดมโนภาพออกมาได้เลย เพราะความจริงในธรรมเริ่มต้นที่ชั้นซึ่งอยู่ใต้ชั้นที่เป็นเหตุให้เกิดตัว วิตกวิจารณ์ ซึ่งเป็นฐานของคำพูดอีกที
Princess Diva Graphic Comments
ลองสังเกตลมหายใจดูนะค่ะ
ถ้าคุณเหงา..
ถ้าคุณเศร้า..
ถ้าคุณผิดหวัง..
ถ้าคุณท้อแท้..
ถ้าคุณสมาธิสั้น..
นั่งในท่าสบาย ๆ ปล่อยวางความรู้สึก..
แล้วหลับตาเบา ๆ
ลองสังเกตดูลมหายใจตัวนะครับ..
สั้นหรือยาว..(หายใจเข้า-ออก..ยาวหรือสั้น)
หยาบหรือละเอียด..(หายใจแรง..หายใจเบา)
เพียงแค่นี้..
เราก็มีความสุขมีสมาธิแล้วครับ..
ไม่ยากใช่ไหมครับ..
ทุกคนทำได้..ขอเพียงมีลมหายใจ..
หลายต่อหลายคน..
วัน ๆ ไม่ค่อยได้ดูแลใจตนเองสักเท่าไหร่..
เพราะมัวแต่สนใจ แคร์ความรู้สึกของคนอื่น..
เช่นเราตื่นนอนมาแล้ว..
เรา..ล้างหน้าแปรงฟัน..แต่งตัว..
เพราะอยากให้คนอื่นดูว่าเราดูดี..(เพียงแค่เนี๊ย)..
แต่เราไม่ค่อยสนใจ..ดูแลรักษาใจของเราเลย..
แม้ชีวิตไม่เหลือใคร..จงเก็บใจไว้เพื่อตัวเอง..นะครับ
กวีมีคุณค่า...เพียงบทเดียว
สามารถเปลี่ยนแปลงคนอ่านได้ทั้งชีวิต
คำพูดเพียงบางคำ..บางประโยค
สามารถทำให้คนฟังเป็นอาชญากรทางสังคม..และหมดอนาคตได้
หลวงตา...น้อย..
ที่มา : อยากให้ทุกคนมีความสุข
Graphics for Halloween Comments
วันเสาร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2551
1. วิชาเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร
ความรู้ที่ได้รับ
- มีความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมมากขึ้น
- เรียนรู้ทักษะการใช้อินเตอร์เน็ท การรับส่งอีเมล และการสร้างบล็อก
- การสร้าง E - mail เป็นของตัวเองโดยสมัครที่ G mail
- เทคนิคและวิธีการตกแต่งบล็อก
- ความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
- มีความเข้าใจในเรื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศ
- เรียนรู้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำความรู้ในเรื่องของเทคโนโลยีไปใช้ในชีวิตจริง
2. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ความรู้ที่ได้รับ
- หลักไวยากรณ์
- ฝึกฝนทักษะการฟัง
- ฝึกฝนการอ่าน
- ฝึกฝนทักษะการเขียน
- ฝึกฝนทักษะการแปล
- การสืบค้นข้อมูลภาษาอังกฤษ
- ทบทวนความรู้เก่าๆและเรียนรู้คำศัพท์ใหม่ๆเพิ่มเติม
- สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้
Myspace Friends Comments & Graphics
- หลักไวยากรณ์
- ฝึกฝนทักษะการฟัง
- ฝึกฝนการอ่าน
- ฝึกฝนทักษะการเขียน
- ฝึกฝนทักษะการแปล
- การสืบค้นข้อมูลภาษาอังกฤษ
- ทบทวนความรู้เก่าๆและเรียนรู้คำศัพท์ใหม่ๆเพิ่มเติม
- สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้
Myspace Friends Comments & Graphics
3. วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ความรู้ที่ได้รับ
- การเขียนคำที่ถูกต้อง
- ฝึกทักษะการย่อความ
- ฝึกทักษะการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ
- ฝึกทักษะการเขียน
- สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆได้
- มีความสนใจในวรรณกรรมมากขึ้น
- มีความเข้าใจในเรื่องของบทร้อยกรอง
- เข้าใจหลักภาษา
- ทบทวนสุภาษิต
- นำภาษาไทยไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง
Myspace Weekend Graphics
- การเขียนคำที่ถูกต้อง
- ฝึกทักษะการย่อความ
- ฝึกทักษะการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ
- ฝึกทักษะการเขียน
- สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆได้
- มีความสนใจในวรรณกรรมมากขึ้น
- มีความเข้าใจในเรื่องของบทร้อยกรอง
- เข้าใจหลักภาษา
- ทบทวนสุภาษิต
- นำภาษาไทยไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง
Myspace Weekend Graphics
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)